วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

กิจกรรมที่ 5


ประวัติครูที่ชอบ

คุณครูอารี  ทองทิพย์  สอนที่โรงเรียนวัดคันธมาลี 

1.ประวัติการศึกษาย่อ ๆ

วุฒิ
วิชาเอก
วัน/เดือน/ปี
ชื่อสถานศึกษา
ศษ..
ประถมศึกษา
27 เมษายน  2530
มหาวิทยาสุโขทัยธรรมราช  อ.ปากเกร็ด  จ.นนทบุรี
ปกศ. สูง
ภาษาไทย
12 มีนาคม  2524
วิทยาลัยครูภูเก็ต  อ.เมือง  จ.ภูเก็ต
..5
ศิลป์-คณิต
3 มีนาคม  2522
โรงเรียนจรัสพิชากร  อ.เมือง  จ.นครศรีธรรมราช

..3
-
24 มีนาคม  2520
โรงเรียนสัตรีมัธยมทวีศิลป์  อ.สิชล  จ.นครศรีธรรมราช
.7
-
23 มีนาคม  2517
โรงเรียนวัดเทพราช  อ.สิชล  จ.นครศรีธรรมราช

2.ประวัติการทำงาน ย่อ ๆ
·       - วันที่  1  กรกฎาคม  2526  เริ่มรับราชการในตำแหน่ง  ครูระดับ  2  โรงเรียนบ้านแสนสุข 
    อำเภอเดชอุดม  จังหวัดอุบลราชธานี
·       - วันที่  27  เมษายน  2530  ปรับวุฒิ  ศษ.ได้ตำแหน่ง  อาจารย์  1
·      -  วันที่  พฤษภาคม  2531  ได้ย้ายมาดำรงตำแหน่งโรงเรียนบ้านบางปรน  อำเภอทุ่งใหญ่ 
·       - วันที่  20  เมษายน  2532  ได้ย้ายมาดำรงตำแหน่ง  อาจารย์  โรงเรียนวัดคันธมาลี 
·       - วันที่  29  พฤศจิกายน  2537  ได้เลื่อนตำแหน่ง  อาจารย์ 
·       - วันที่  ตุลาคม    24  ธันวาคม  2547  ได้เลื่อนตำแหน่งเป็นครูชำนาญการอันดับ  ค..2
·       - วันที่  30  มีนาคม  2553  ได้เลื่อนตำแหน่งเป็นครูชำนาญการพิเศษ  อันดับ  ค..3
 
 3.ผลงานของครูที่นักเรียนชอบ
จากการนำเทคนิคการสอนแบบเรียนปนเล่น  ไปทดลองใช้ในเรื่องการอ่าน  การเขียนและการคิดวิเคราะห์คำสระลดรูปและเปลี่ยนรูปด้วยเกมทางภาษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ผลการทดลองใช้ปรากฏว่านักเรียนสามารถอ่าน  เขียนและคิดวิเคราะห์คำสระลดรูปและเปลี่ยนรูปได้คล่องผลเป็นที่พอใจมาก  ครูจึงนำเทคนิคนี้และนำเรื่องนี้ไปขอเลื่อนเป็นวิทยาฐานะชำนาญการพิเศษ  (ค..3)

4.นักเรียนประยุกต์สิ่งที่ดีของครูมาใช้ในการพัฒนาตนเอง
เทคนิคในการสอนภาษาไทย  จะนำเทคนิค  “แบบเรียนปนเล่น”  มาใช้กับการเรียนการสอนจะทำให้นักเรียนมีความสุขสนุกสนานกับการเรียนการสอนมาก  ครูผู้สอนเองก็มีความสุขไปด้วย  นอกจากนี้เมื่อจบการเรียนการสอนแต่ครั้งครูและเพื่อนต้องให้ขวัญและกำลังใจ  โดยการปรบมือให้กับผู้ทำกิจกรรมได้สำเร็จ  ถึงแม้จะไม่รวดเร็วก็ต้องปรบมือให้เป็นขวัญกำลังใจ  และที่สำคัญครูเองจะต้องพัฒนาบุคลิกภาพให้ดูดี  กระตือรือร้น  เสียงดังฟังชัด  กล้าแสดงออกสามารถแสดงท่าทางประกอบที่ตนเอง  เล่าเรื่อง  หรือยกตัวอย่างให้สอดคล้องสมจริงสมจังกับสิ่งที่กำลังสอน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น